โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล (แคราย – ลำสาลี) แก้ไข
โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดิน และยกระดับ มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก – ตะวันตก เริ่มต้นจากแยกบางขุนนนท์ บริเวณจุดตัดถนนจรัญสนิทวงศ์ และถนนบางขุนนนท์ ฝั่งธนบุรี เข้าสู่ย่านบางกอกน้อย แล้วลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่ย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร, ป้อมปราบศัตรูพ่าย และดุสิต ผ่านสถานที่สำคัญเช่น สนามหลวง, ถนนราชดำเนิน, ภูเขาทอง, ตลาดมหานาค เข้าสู่ใจกลางเมืองย่านราชเทวี, ประตูน้ำ, ดินแดง ไปยังชุมชนประชาสงเคราะห์, ถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนรามคำแหง, บางกะปิ, สะพานสูง มาสิ้นสุดเส้นทางที่เขตมีนบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ
ปัจจุบัน โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ได้แบ่งการดำเนินงานออกเป็น 2 ส่วน คือเส้นทางตะวันตกช่วงบางขุนนท์ – ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย และเส้นทางตะวันออกช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย – บางกะปิ – มีนบุรี ทั้งหมดอยู่ในแผนเร่งรัด 4 ปีของรัฐบาล โดยจะเริ่มก่อสร้างเส้นทาง มีนบุรี – บางกะปิ – ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ก่อนเป็นอันดับแรก ซึ่งปัจจุบันอยู่ในระหว่างการก่อสร้างโครงการในส่วนตะวันออกทั้งโครงการ คาดว่าจะเปิดใช้งานได้อย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2566 ส่วนโครงการช่วงตะวันตกเส้นทางบางขุนนนท์ – ศูนย์วัฒนธรรมฯ อยู่ในระหว่างการพิจารณาโครงการและร่างสัญญาโดยคณะรัฐมนตรี
โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ตลิ่งชัน – มีนบุรี (MRT Orange Line) มี 2 ช่วง คือ
- รถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งระเทศไทย – มีนบุรี
- รถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงตลิ่งชัน – ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
โครงการสายสีแดงเข้ม (ช่วงศูนย์วัฒนธรรมฯ – บางกะปิ – มีนบุรี)
ช่วงที่ 1 : ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย-บางกะปิ (กำลังก่อสร้าง)
เป็นเส้นทางที่เกิดขึ้นครั้งแรกในแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 โดยเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางบางกะปิ – ราษฎร์บูรณะของสายสีส้มเดิม เส้นทางนี้เป็นเส้นทางที่มีความสำคัญมากเพราะเป็นเส้นทางเข้าสู่พื้นที่ศูนย์ซ่อมบำรุงการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยที่ใช้ร่วมกับรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล หรือ รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน และยังเป็นเส้นทางหลักที่เชื่อมต่อการคมนาคมจากแหล่งที่พักอาศัยขนาดใหญ่ย่านบางกะปิเข้ากับรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล หรือ รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ที่กำหนดให้เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าวงแหวนรอบกรุงเทพฯ
เส้นทางส่วนนี้เป็นเส้นทางใต้ดินทั้งหมด เริ่มต้นจากจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล หรือ รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย จากนั้นวิ่งตามแนวถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนพระราม 9 ที่บริเวณหน้าที่ทำการของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย มุ่งหน้าไปทางทิศตะวันออก ผ่านแยกพระราม 9 – ประดิษฐ์มนูธรรม แล้วเข้าสู่ถนนรามคำแหง บริเวณแยกรามคำแหง ผ่านมหาวิทยาลัยรามคำแหง, ราชมังคลากีฬาสถาน ไปสิ้นสุดเส้นทางที่แยกลำสาลีในย่านบางกะปิ ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อกับ รถไฟฟ้าสายสีเหลือง (ลาดพร้าว – สำโรง) รวมระยะทางทั้งสิ้น 9 กิโลเมตร
ช่วงที่ 2 : บางกะปิ – มีนบุรี (กำลังก่อสร้าง)
เป็นเส้นทางที่เกิดขึ้นครั้งแรกในแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 โดยเป็นส่วนต่อขยายของเส้นทางบางกะปิ – ราษฎร์บูรณะของสายสีส้มเดิม แต่ได้แยกออกมาเป็นรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล[6] เมื่อปี พ.ศ. 2548 และมีการปรับแผนแม่บทฯ รวมเอาเส้นทางสายสีน้ำตาลกลับเข้ามาเป็นสายสีส้มอีกครั้งในปี พ.ศ. 2552
เป็นเส้นทางยกระดับเกือบทั้งหมดตามแนวถนนรามคำแหง (สุขาภิบาล 3) เริ่มต้นจากโครงสร้างอุโมงค์ใต้ดินที่แยกลำสาลี ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อกับเส้นทางช่วงก่อนหน้านี้ ผ่านจุดตัดถนนศรีบูรพา จากนั้นจึงเริ่มยกระดับตามแนวเกาะกลางถนนเข้าสู่สถานีคลองบ้านม้า ผ่านหมู่บ้านสัมมากร ยกข้ามทางแยกต่างระดับรามคำแหงจุดตัดถนนกาญจนภิเษก ผ่านแยกลาดบัวขาว ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนมีนพัฒนา ผ่านเคหะรามคำแหง ไปสิ้นสุดเส้นทางที่สถานีมีนบุรี บริเวณก่อนถึงแยกรามคำแหง-ร่มเกล้าซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าโมโนเรล สายสีชมพู (แคราย – มีนบุรี) และเป็นที่ตั้งของศูนย์ซ่อมบำรุงสำหรับเส้นทางส่วนนี้ร่วมกับสายสีชมพู รวมระยะทางทั้งสิ้น 11 กิโลเมตร
โครงการช่วงตะวันตก (ช่วงบางขุนนนท์ – ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย) (อยู่ระหว่างเวนคืนที่ดิน)
เป็นเส้นทางที่เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 มาสู่แผนแม่บทฯ พ.ศ. 2547 โดยต่อขยายแนวเส้นทางช่วงสามเสน (ซังฮี้) – ศูนย์วัฒนธรรมฯ – บางกะปิ ของเส้นทางสายสีส้มเดิมมาเป็นบางบำหรุ – ศูนย์วัฒนธรรมฯ – บางกะปิ และในแผนแม่บท พ.ศ. 2553 ได้มีการแก้ไขเส้นทางโดยสลับกับแนวเส้นทางรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน โครงข่ายในเมือง ที่ได้เปลี่ยนจากช่วงตลิ่งชัน-มักกะสัน มาเป็นบางบำหรุ-มักกะสัน และเปลี่ยนแปลงเส้นทางสายสีส้มส่วนนี้จากบางบำหรุ – ศูนย์วัฒนธรรมฯ มาเป็นตลิ่งชัน-ศูนย์วัฒนธรรมฯ และต่อมาในพ.ศ. 2554 ก็ได้มีการแก้ไขแบบแผนอีกครั้ง โดยตัดเส้นทางจากเดิมที่จะไปสิ้นสุดที่ตลิ่งชัน ให้มาสุดอยู่แค่แยกจรัญสนิทวงศ์เนื่องจากเส้นทางทับซ้อนกับสายสีแดงอ่อนช่วงบางซื่อ – ตลิ่งชัน – ศาลายา ทำให้แนวเส้นทางของรถไฟฟ้าสายสีส้มเหลือเพียงแค่ บางขุนนนท์ – ศูนย์วัฒนธรรมฯ ในที่สุด ใน พ.ศ. 2557 เกิดการคัดค้านการเวนคืนที่ดินหลายจุด เนื่องจากชุมชนประชาสงเคราะห์ไม่ยินยอมให้เวนคืนเพราะเป็นการทำรถไฟฟ้าใต้ดินที่จะจัดทำถนนขนาด 4 เลนตามแนวรถไฟฟ้าทำให้มีผู้เดือดร้อนจำนวนมาก ทำให้มีการเปลี่ยนแนวเส้นทางอีกครั้ง จากเดิมช่วงดินแดง – ศูนย์วัฒนธรรมฯ เป็น ดินแดง – พระราม 9 แทน ทำให้เส้นทางสายสีส้มตะวันตกกลายเป็น บางขุนนนท์ – พระราม 9 ในที่สุด แต่หลังจากการประชุมของคณะรัฐมนตรีใน พ.ศ. 2558 คณะรัฐมนตรีมีมติให้ก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีส้มตามแนวเส้นทางเดิมตามแผนแม่บท เนื่องจากเส้นทางเดิมได้รับการอนุมัติเรื่องผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม (EIA) และเป็นเส้นทางที่ประชาชนรับทราบกันมาตั้งแต่ออกแผนแม่บทนี้เรียบร้อยแล้ว
แนวเส้นทางในส่วนตะวันตกเป็นเส้นทางใต้ดินทั้งหมด เริ่มต้นจากบริเวณด้านใต้สถานีบางขุนนนท์ ของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ในแนวตัดขวางกับถนนจรัญสนิทวงศ์ จากนั้นวิ่งผ่านสถานีรถไฟธนบุรี โรงพยาบาลศิริราช ลอดแม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่แนวถนนราชดำเนินกลาง ผ่านสนามหลวง เชื่อมต่อกับ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง ที่สถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ผ่านสะพานผ่านฟ้าลีลาศเข้าสู่แนวถนนหลานหลวง ผ่านตลาดมหานาค เข้าสู่แนวถนนเพชรบุรีที่แยกยมราช ผ่านแยกอุรุพงษ์ แยกเพชรพระราม มาเชื่อมต่อกับ รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน หรือรถไฟฟ้า บีทีเอส สายสุขุมวิท ที่สถานีราชเทวี เลี้ยวซ้ายที่แยกประตูน้ำมุ่งหน้าไปทางทิศเหนือตามแนวถนนราชปรารภ เชื่อมต่อกับ รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่สถานีราชปรารภ เบี่ยงขวาที่แยกสามเหลี่ยมดินแดงเข้าสู่ถนนดินแดง เลี้ยวซ้ายเข้าถนนวิภาวดีรังสิต และเลี้ยวขวาลอดโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี เข้าสู่ชุมชนประชาสงเคราะห์ และทะลุออกสู่ถนนรัชดาภิเษภด้วยการลอดผ่านศูนย์การค้าเอสพลานาด รัชดาภิเษก เพื่อเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล หรือ รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
เส้นทางรถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน (ศิริราช-ตลิ่งชัน-ศาลายา)
เป็นโครงสร้างยกระดับ เริ่มต้นจากสถานีเตาปูน ซึ่งเป็นสถานีร่วมกับรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินส่วนต่อขยาย ช่วงบางซื่อ – ท่าพระ ที่แยกเตาปูน ตามแนวถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี มุ่งหน้าไปทางทิศเหนือ ผ่านจุดตัดทางรถไฟบางซ่อนซึ่งเชื่อมต่อกับรถไฟชานเมืองสายสีแดงอ่อนที่สถานีรถไฟบางซ่อน ผ่านแยกวงศ์สว่าง จนสุดเขตกรุงเทพมหานคร เข้าสู่เขต ต.บางเขน อ.เมืองนนทบุรี จ.นนทบุรี เลี้ยวขวาที่แยกติวานนท์ เข้าสู่ถนนติวานนท์ ผ่านทางเข้ากระทรวงสาธารณสุข เลี้ยวซ้ายก่อนถึงแยกแคราย เข้าสู่ถนนรัตนาธิเบศร์ มุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตก เชื่อมต่อกับจุดเริ่มต้นของเส้นทางรถไฟฟ้าโมโนเรล สายสีชมพู (แคราย-ปากเกร็ด-มีนบุรี) ที่สถานีศูนย์ราชการนนทบุรี ผ่านศาลากลางจังหวัดและศูนย์ราชการนนทบุรี จากนั้นข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่สะพานคู่ขนานฝั่งทิศใต้ของสะพานพระนั่งเกล้า เข้าสู่พื้นที่ อ.บางใหญ่ ผ่านทางแยกต่างระดับบางรักน้อย (จุดตัดถนนราชพฤกษ์) และแยกบางพลู เลี้ยวขวาที่ทางแยกต่างระดับบางใหญ่มุ่งหน้าไปทางทิศเหนือตามถนนกาญจนาภิเษก ผ่านชุมชนตลาดบางใหญ่ ไปสิ้นสุดเส้นทางบริเวณคลองบางไผ่ พื้นที่ ต.บางรักพัฒนา อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี รวมระยะทางทั้งสิ้น 23 กิโลเมตร
ส่วนเส้นทางช่วงบางซื่อ-เตาปูนในเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินที่ดำเนินการก่อสร้างพร้อมกันนั้น มีเส้นทางเริ่มต้นจากอุโมงค์ใต้ดินของสถานีบางซื่อในปัจจุบัน ขึ้นสู่ระดับดินบริเวณหน้าที่ทำการบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) และยกระดับมุ่งหน้าสะพานสูงบางซื่อ และถนนประชาราษฎร์ สาย 2 ก่อนเข้าสู่ชานาชาลาชั้นล่างของสถานีเตาปูนตามแนวทิศตะวันตก – ตะวันออก ระยะทางประมาณ 1.2 กิโลเมตร ดังนั้นรถไฟฟ้าสายสีม่วงจึงไม่ได้เข้าสู่สถานีบางซื่อโดยตรง แต่เชื่อมต่อกับสายสีน้ำเงินช่วงดังกล่าวโดยเข้าสู่ชานชาลาชั้นบนของสถานีเตาปูนตามแนวทิศเหนือ-ใต้ ซึ่งเป็นเส้นทางต่อเนื่องกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ส่วนต่อขยายช่วงเตาปูน – ราษฎร์บูรณะ ทางทิศใต้
จุดเชื่อต่อรถไฟฟ้าสายอื่นๆและจุดเชื่อมอาคาร จากสถานีรถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน
ชื่อสถานีรถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน (รหัส) | รูปแบบสถานี | สถานีเชื่อมต่อเข้าอาคาร | สถานีเชื่อมต่อรถไฟฟ้า |
---|---|---|---|
สถานีรถไฟฟ้าสนามกีฬาแห่งชาติ (W1) | สยามดิสคัฟเวอรี่, หอศิลป์วัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร, เอ็มบีเค เซ็นเตอร์ | ||
สถานีรถไฟฟ้าสยาม (CEN) | เซ็นทรัลเวิลด์, สยามสแควร์วัน, สยามเซ็นเตอร์, สยามพารากอน, เอราวัณบางกอก, อัมรินทร์พลาซ่า, เกษรพลาซา | ![]() | |
สถานีรถไฟฟ้าราชดำริ (S1) | |||
สถานีรถไฟฟ้าศาลาแดง (S2) | ศูนย์การค้าสีลมคอมเพล็กซ์, อาคารธนิยะ, โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์, คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | ![]() | |
สถานีรถไฟฟ้าช่องนนทรี (S3) | อาคารสาธรธานี, อาคารสาธรสแควร์, อาคารเอ็มไพร์ ทาวเวอร์, อาคารมหานคร | ![]() ![]() | |
สถานีรถไฟฟ้าศึกษาวิทยา (S4) | |||
สถานีรถไฟฟ้าสุรศักดิ์ (S5) | โรงแรมอีสติน แกรนด์ สาธร | ||
สถานีรถไฟฟ้าสะพานตากสิน (S6) | |||
สถานีรถไฟฟ้ากรุงธนบุรี (S7) | ![]() | ||
สถานีรถไฟฟ้าวงเวียนใหญ่ (S8) | ![]() ![]() | ||
สถานีรถไฟฟ้าโพธิ์นิมิตร (S9) | |||
สถานีรถไฟฟ้าตลาดพลู (S10) | ![]() | ||
สถานีรถไฟฟ้าวุฒากาศ (S11) | ![]() | ||
สถานีรถไฟฟ้าบางหว้า (S12) | ![]() |
ที่ตั้ง สถานีรถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน ทุกสถานี
โครงการก่อสร้างเป็นทางยกระดับตลอดแนวเส้นทาง มีทางวิ่งสูง 15 เมตร ชานชาลากว้าง 20-25 เมตร ยาว 110 เมตร สถานีซึ่งเป็นสถานียกระดับทั้งหมด ส่วนใหญ่มีชั้นจำหน่ายบัตรโดยสารอยู่ชั้นที่ 2 และชั้นชานชาลาอยู่ชั้นที่ 3 ก่อสร้างอยู่เหนือพื้นที่ผิวจราจรของถนนสายหลัก มีโรงจอดรถศูนย์ซ่อมบำรุง 1 แห่ง อาคารและลานจอดแล้วจร 1 แห่ง บริเวณพื้นที่ทางแยกต่างระดับศรีเอี่ยม ที่ตั้งสถานีรถไฟฟ้าสายสีเหลืองทั้งหมด 23 สถานี ดังนี้
- สถานีรถไฟฟ้ารัชดา ตั้งอยู่หน้าอาคารจอดแล้วจรบนถนนรัชดาภิเษก เชื่อมต่อกับ รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน สถานี…..
- สถานีรถไฟฟ้าภาวนา ตั้งอยู่ปากซอยภาวนา (ลาดพร้าว 41)
- สถานีรถไฟฟ้าโชคชัย 4 ตั้งอยู่หน้าศูนย์การค้าโชคชัย 4 (ลาดพร้าว 53)
- สถานีรถไฟฟ้าลาดพร้าว 71 ตั้งอยู่บริเวณปากซอยลาดพร้าว 71
- สถานีรถไฟฟ้าลาดพร้าว 83 ตั้งอยู่บริเวณระหว่างซอยลาดพร้าว 83 กับซอยลาดพร้าว 85
- สถานีรถไฟฟ้ามหาดไทย ตั้งอยู่บริเวณปากซอยลาดพร้าว 95 บรษัท ฟู๊ดแลนด์ ซุปเปอร์มาร์เก็ต จำกัด(สาขาลาดพร้าว)
- สถานีรถไฟฟ้าลาดพร้าว 101 ตั้งอยู่บริเวณปากซอยลาดพร้าว 101 ใกล้ตลาดสดลาดพร้าว
- สถานีรถไฟฟ้าบางกะปิ ตั้งอยู่หน้าห้างแม็คโคร ใกล้กับห้างสรรพสินค้าเดอะมอลล์ บางกะปิ
- สถานีรถไฟฟ้าลำสาลี ตั้งอยู่แยกลำสาลี(ด้านทิศใต้) เชื่อมต่อกับ รถไฟฟ้าสายสีส้ม สถานี…..
- สถานีรถไฟฟ้าศรีกรีฑา ตั้งอยู่แยกศรีกรีฑา (ด้านทิศใต้)
- สถานีรถไฟฟ้าพัฒนาการ ตั้งอยู่ระหว่างจุดตัดทางรถไฟและจุดตัดถนนพัฒนาการ เชื่อมต่อกับ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิงค์ สถานี…..
- สถานีรถไฟฟ้ากลับตัน ตั้งอยู่หน้าธัญญะ ช็อปปิ้ง พาร์ค และบ้านกลางเมือง ศรีนครินทร์
- สถานีรถไฟฟ้าศรีนุช ตั้งอยู่ด้านทิศใต้ของแยกศรีนุช
- สถานีรถไฟฟ้าศรีนครินทร์ 38 ตั้งอยู่บริเวณปากซอยศรีนครนิทร์ 38 ใกล้ธนาคารกรุงไทย
- สถานีรถไฟฟ้าสวนหลวง ร.9 ตั้งอยู่ระหว่างห้างซีคอนแสควร์และห้างพาราไดซ์ พาร์ค
- สถานีรถไฟฟ้าศรีอุดม ตั้งอยู่บริเวณทางแยกศรีอุดม (ด้านทิศใต้)
- สถานีรถไฟฟ้าศรีเอี่ยม ตั้งอยู่บริเวณทางแยกต่างระดับศรีเอี่ยม (ด้านทิศเหนือของถนนบางนา-ตราด) จุดจอดแล้วจรและศูนย์ซ่อมบำรุง
- สถานีรถไฟฟ้าศรีลาซาล ตั้งอยู่แยกศรีลาซาล (ด้านทิศใต้)
- สถานีรถไฟฟ้าศรีแบริ่ง ตั้งอยู่แยกศรีแบริ่ง (ด้านทิศใต้)
- สถานีรถไฟฟ้าศรีด่าน ตั้งอยู่ใกล้กับแยกศรีด่าน (ด้านทิศเหนือ)
- สถานีรถไฟฟ้าศรีเทพา ตั้งอยู่ใกล้กับแยกศรีเทพา (ด้านทิศตะวันตก)
- สถานีรถไฟฟ้าทิพวัล ตั้งอยู่ปากซอยหมู่บ้านทิพวัล
- สถานีรถไฟฟ้าสำโรง ตั้งอยู่บริเวณจุดตัดถนนสุขุมวิท เชื่อมต่อกับ รถไฟฟ้าสายสีเขียว (ช่วงแบริ่ง-สำโรง) ที่สถานีสำโรง
ระบบรถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน
- ระบบรถไฟฟ้า เป็นระบบรถไฟฟ้าขนาดหนัก (heavy rail transit) ใช้ระบบรถไฟฟ้าที่ผลิตจากประเทศญี่ปุ่น ซึ่งทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพได้เซ็นต์สัญญาว่าจ้าง มารุเบนิ และ โตชิบา เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดหาขบวนรถไฟฟ้า โดยได้ทำการผลิตจากโรงงาน J-TREC โดยสัญญาดังกล่าวเป็นการสั่งซื้อรถไฟฟ้า 63 ตู้ 21 ขบวน (ต่อพ่วง 3 ตู้ – 1 ขบวนและสามารถเพิ่มได้สูงสุด 6 ตู้ – 1 ขบวนในอนาคต) โดยมีความจุประมาณ 320 คนต่อตู้ สามารถรองรับผู้โดยสารได้ไม่น้อยกว่า 50,000 คนต่อชั่วโมงต่อทิศทาง
- ขนาดราง 1.435 เมตร (European standard guage) โดยมีรางที่ 3 ขนานไปกับรางวิ่งสำหรับจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับตัวรถ
- โครงสร้างทางวิ่ง เป็นแบบยกระดับ สูงประมาณ 17-19 เมตรจากผิวถนน เพื่อให้สามารถข้ามผ่านสะพานลอยคนข้ามถนน, สะพานลอยรถยนต์ และสะพานลอยกลับรถได้ มีตอม่ออยู่กลางถนน ระยะห่างตอม่อสูงสุด 40 เมตร เพื่อลดผลกระทบต่อการจราจรทั้งในระหว่างก่อสร้างและเมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จ ตอม่อมีลักษณะโปร่งบาง, สวยงาม, ไม่เทอะทะ และไม่ปิดบังอาคารบริเวณริมถนน
- ศูนย์ซ่อมบำรุงและศูนย์ควบคุมการเดินรถ บริเวณต้นทางสถานีคลองบางไผ่
สิทธิประโยชน์เพิ่มเติม
- สำหรับเด็กที่มีอายุไม่เกิน 14 ปี และ/หรือ ไม่เกินวันเกิดอายุครบ 14 ปี และมีช่วงความสูงไม่เกิน 90 ซม. ได้รับการยกเว้นค่าโดยสาร
- ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป และ/หรือตั้งแต่วันเกิดอายุครบ 60 ปี จะได้รับสิทธิลดหย่อนค่าโดยสารเช่นเดียวกับผู้สูงอายุทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ถึง 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
- สำหรับประชาชนทุกคนในโอกาสวันสำคัญทางราชการเช่นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2554 ฯลฯ โดยสารรถไฟฟ้าโดย ได้รับการยกเว้นค่าโดยสาร ตามเวลา ที่ประกาศกำหนด
- สำหรับประชาชนทุกคนในพิธีการสำคัญระดับประเทศ เช่น พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ฯลฯ โดยสารรถไฟฟ้าโดย ได้รับการยกเว้นค่าโดยสาร ตามเวลา ที่ประกาศกำหนด
- สำหรับประชาชนที่เป็นบิดาหรือมารดาในวันพ่อแห่งชาติ และวันแม่แห่งชาติ
- ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปๆด้รับการยกเว้นค่าโดยสารช่วงวันสงกรานต์ 13-15 เมษายน
การสนับสนุนภาครัฐ
- คนพิการขึ้นรถไฟฟ้าฟรี
- ผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐฯ ขึ้นรถไฟฟ้าฟรี
คอนโดใกล้รถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน
บ้านใกล้รถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน
บ้านทาวน์โฮมใกล้รถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน
สถานที่ใกล้เคียง รถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน
สถานที่ท่องเที่ยวแนวรถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน
ขอขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซต์ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟ้าได้ที่
175 ถ.พระราม 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
โทรศัพท์: 2716 4000
โทรสาร:2716 4019
Call Center: 2716 4044
อีเมลล์: PR@mrta.co.th
เว็บไซต์: https://www.mrta.co.th